วันจันทร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2559

Present Perfect Tense

Present Perfect Tense (Tense ปัจจุบันสมบูรณ์)

Present  เพร๊เซินท= ปัจจุบัน

Perfect เพอเฟ็คท = สมบูรณ์

สมบูรณ์อย่างไร บางตำราก็ว่าเหตุการณ์มันเสร็จสิ้นสมบูรณ์แล้ว ก็เลยเรียกชื่อนี้ แต่ขอแนะนำว่าให้ใส่ใจที่การนำไปใช้อย่างไรดีกว่า

โครงสร้าง

He, She, It, A catอ่านเพิ่มเติม

Present Continuous Tense

Present Continuous Tense (Tense ปัจจุบันกำลังทำ)

Present  เพร๊เซินท= ปัจจุบัน

Continuous คอนทินิวอัส = ต่อเนื่อง

Present Continuous Tense มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งคือ Present Progressive Tense

โครงสร้าง

I           am             eating


Past Continuous Tense

หลักการใช้ Past Continuous Tense ถือว่าค่อนข้างซับซ้อนนิดหนึ่งตรงที่ถ้ามีสองเหตุการณ์ในอดีตซ้อนกันอยู่ ซึ่งผู้เรียนต้องจดจำให้ได้ว่าสองเหตุการณ์ที่ว่านั้น เหตุการณ์ไหนใช้ tense อะไร และมีข้อสังเกตอย่างไร

Past Continuous Tense (Tense อดีตกำลังทำ)

Past  พาสท= อดีต

Continuous คอนทินิวอัส = ต่อเนื่อง

คำว่า was, were คือ ช่องที่ 2 ของ verb to be (is, am, are)

was อ่านว่า เวิส มาจาก is

were อ่านว่า เวอ มาจาก are

โครงสร้าอ่านเพิ่มเติม

Future Continuous Tense

หลักการใช้  Future Continuous Tense (Tense อนาคตกำลังทำ)

Future  ฟิวเชอะ= อนาคต

Continuous  คอนทินิวอัส= ต่อเนื่อง

ที่บอกว่า “อนาคตกำลังทำ” หมายถึง ในช่วงเวลาหนึ่งของอนาคต จะมีเหตุการณ์หนึ่งกำลังเกิดขึ้นอยู่ (เช่น ฉันคงกำลังทำอะไรอยู่นะ ในช่วงเวลานั้น เป็นต้น)

โครงสร้าง

I, You, He, She, It,อ่านเพิ่มเติม

future simple tense

หลักการใช้  Future Simple Tense (Tense อนาคตธรรมดา)  เป็นอีกหนึ่ง Tense ที่ค่อนข้างง่ายไม่ยุ่งยากเท่าไหร่

Future Simple Tense

Future  ฟิวเชอะ= อนาคต

Simple  ซิมเพิล = ธรรมดา

ที่บอกว่า “อนาคตธรรมดา” หมายถึง ในช่วงเวลาหนึ่งของอนาคต จะมีเหตุการณ์หนึ่งเกิดขึ้น (เช่น ฉันจะทำอะไรบางอย่าง ในเวลานั้น เป็นต้น)

โครงสร้าอ่านเพิ่มเติม

Present Simple Tense

Present Simple Tense (Tense ปัจจุบันธรรมดา)

Present  เพร๊เซินท= ปัจจุบัน

Simple ซิ๊มเพิล = ธรรมดา

โครงสร้าง

S + V1 (ประธานเอกพจน์ กริยาเติม s,es)
ประธาน + กริยาช่องที่ 1 (ถ้าประธานเป็นเอกพจน์ กริยาต้องเติม s หรือ es แล้วแต่กรณี)
S + กริยาช่วย + V1
ประธาน + กริยาช่วย + กริยาช่องที่ 1 (ไม่ต้องเติม s ทุกกรณี)
กริยาช่วยที่ใช้บ่อยอ่านเพิ่มเติม

past simple tense

Past Simple Tense (Tense อดีตธรรมดา)
Past  พาสท= อดีต
Simple  ซิ๊มเพิล = ธรรมดา
 หลักการใช้
Past Simple Tense ถือว่าง่ายที่สุดเลยเพราะประธานทุกตัวใช้กริยาช่องสองเหมือนกัน (เว้น was ใช้กับประธานเอกพจน์, were ใช้กับประธานพหูพจน์) ให้จำหลักสำคัญของ Tense นี้ไว้ว่า เป็นการเล่าเรื่องราวที่เกิดขึ้นในอดีต และก็จบลงไปแล้วด้วย ไม่เกี่ยวข้องกับปัจจุบัน

1. ใช้เล่าเหตุการณ์ในอดีต ที่จะระบุเวลากำกับ หรือรู้กันดีว่ามันเกิดในอดีตนะ
เล่าเหตุการณ์อ่านเพิ่มเติม

Gerund

Gerund คือ คำกริยา + ing หรือ v-ing
    Gerund มีรูปร่างหน้าตาเหมือนกับ present participle แต่ทำหน้าที่ต่างกัน นั่นคือ present participle ทำหน้าที่เป็น ‘predicative adjunct’ และ ‘คุณศัพท์’ ส่วน
gerund ทำหน้าที่เป็น ‘คำนาม’
    เมื่อ gerund เป็น ‘คำนาม’ gerund จึงทำหน้าที่ได้ดังต่อไปนี้
    1. ใช้เป็นประธานของประโยค

    2. ใช้เป็นกรรมของบุพบท

    3. ใช้เป็นกรรมของคำกริยา vt

    4. ใช้ตามหลัง verb to be เพื่ออ่านเพิ่มเติม

วันพุธที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2559

infinitive

Infinitive เป็นเรื่องไม่ยาก ถ้ารู้เคล็ดลับ
    พวกเรามักงุนงงสับสนกับการใช้ infinitive เป็นอย่างยิ่ง จนใช้กันผิดๆถูกๆและก็ท้อใจ
กันไปตามๆกันกับการเรียนรู้การใช้ infinitive

    เมื่อก่อนผู้เขียนเองก็ตกอยู่ในสภาพนี้เช่นเดียวกัน แต่ในที่สุด ผู้เขียนก็ได้ค้นพบเคล็ด
ลับของการใช้ infinitive เข้าจนได้ และก็ได้นำเคล็ดลับนี้มาเปิดเผยไว้ในบทความ 2 บทความ คือ ‘Infinitive แบบสำเร็จรูป’ ที่ท่านผู้อ่านกำลังอ่านอยู่นี้ และอีกบทความหนึ่ง คือ  ‘Infinitive แบบสร้างเอง’ ซึ่งมี link อยู่ด้านซ้ายของบทความนี้
    เมื่อท่านผู้อ่านอ่านบทความทั้ง 2 นี้แล้ว ก็จะเข้าใจได้อย่างแตกฉานว่า แท้จริงแล้ว
infinitive แบ่งเป็น 2 แบบ คือ ‘แบบสำเร็จรูป’ และ ‘แบบสร้างเอง’อ่านเพิ่มเติม

วันอังคารที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559

Tense

ยินดีต้อนรับสู่ 12 Tenses ที่แสนจะง่ายๆเอง

ก่อนเข้าสู่บทเรียนเรื่อง Tense ทั้ง 12 คุณได้ศึกษาไวยากรณ์พื้นฐานแล้วหรือยัง เพราะตัวพื้นฐานดังกล่าวถ้าเปรียบดังตึกคือชั้นล่าง ถ้าพื้นฐานแน่นแล้ว การเรียนเรื่อง tense ก็จะง่ายมากๆ ขอบอก
แต่ถ้าศึกษาแล้วก็เตรียมตัวเรียนกันเลยครับ แต่ต้องพึงระลึกว่า โครงสร้างทางภาษาบางทีต้องท่องจำเหมือนสูตรคูณ แต่ถ้าเราคล่องแล้วมันก็จะง่ายเหมือนปอกกล้วยเข้าปากนั่นแหละ ซึ่งเราก็จะรู้อัตโนมัติว่าโครงสร้างนี้ คือ Tense อะไร เพราะเวอ่านเพิ่มเติม